ความเสี่ยง
-
กินอาหารอย่างไร เมื่อเป็น “กรดไหลย้อน”
ผู้ป่วยกรดไหลย้อน นอกจากต้องปรับพฤติกรรมในการใช้ชีวิตแล้ว ควรปรับพฤติกรรมในการรับประทานอาหารด้วย คุณศิริกานต์ นารี นักวิชาการโภชนาการ ฝ่ายโภชนาการ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ระบุว่า โรคกรดไหลย้อน เกิดจากกล้ามเนื้อหูรูดส่วนปลายของหลอดอาหารที่เชื่อมต่อกับกระเพาะอาหารทำงานผิดปกติ ไม่สามารถกันให้กรด น้ำย่อย หรืออาหารไหลย้อนขึ้นมาที่หลอดอาหารได้ ทำให้เกิดอาการแสบร้อนหน้าอกหรือแน่นหน้าอก อาหารที่ผู้ป่วยกรดไหลย้อนควรหลีกเลี่ยง อาหารที่มีไขมันสูง ...
-
6 สัญญาณอันตราย “กินยา” มากเกินไปจน “ตับพัง”
ผู้ป่วยจำนวนไม่น้อยที่ต้องกินยาปฏิชีวนะเพื่อควบคุม หรือรักษาโรคอยู่เป็นประจำ และเป็นที่ทราบกันดีกว่าการกินยาปฏิชีวนะติดต่อกันเป็นเวลานาน ๆ อาจส่งผลเสียต่อตับได้ หากคุณเองก็เป็นคนหนึ่งที่กินยาปฏิชีวนะเป็นประจำ ลองสังเกตตัวเองดูว่าเสี่ยงตับถูกทำลายหรือไม่ สัญญาณอันตราย “กินยา” มากเกินไปจน “ตับพัง” อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ ...
-
อาหารแสลง แสลงจริงหรือแค่กลัวไปเอง?
หลังจากเป็นไข้ ไม่สบาย หรือผ่าตัด ผู้ใหญ่มักห้ามไม่ให้เราทานนู่นทานนี่ที่เราอยากทาน โดยบอกว่าเป็น “ของแสลง” ทานแล้วจะเป็นอย่างนู้นอย่างนี้ ต้องรอให้หายเป็นปกติก่อน ข้อเท็จจริงจากแพทย์กลับพบว่า บางเรื่องก็ไม่ใช่เรื่องจริง จะมีเรื่องใดที่จริง และไม่จริงบ้าง มาดูข้อมูลจาก เฟซบุ๊คเพจ ใกล้มิตรชิดหมอ กันค่ะ อาหารแสลง... ที่ไม่แสลง - ...
-
“ปลายประสาทอักเสบ” ภัยเงียบผู้สูงวัย หากปล่อยนานเรื้อรังรักษายาก
แพทย์เผยปลายประสาทอักเสบ อาการบวม แดง อ่อนแรงและชา ที่แขนและขา ปลายมือ ปลายเท้า พบมากในผู้สูงวัย ส่วนใหญ่มีสาเหตุจากการติดเชื้อ ชี้ถ้าพบมีบาดแผลหรือฟกช้ำที่ปลายมือปลายเท้า ควรรีบพบแพทย์ทันที นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา อธิบดีกรมการแพทย์ เปิดเผยว่า ระบบประสาทแบ่งออกเป็น ...
-
ผู้เชี่ยวชาญ ชี้แนะวิธีใช้ชุดตรวจ ATK ย้ำผู้ที่มีความเสี่ยง ควรตรวจเป็นประจำ
ผู้เชี่ยวชาญ ชี้แนะวิธีใช้ชุดตรวจ ATK ย้ำผู้ที่มีความเสี่ยง ควรตรวจเป็นประจำ คณะผู้เชี่ยวชาญ แนะวิธีใช้ชุดตรวจ ATK ช่วงที่มีโอกาสเจอเชื้อมากที่สุดคือ 2 วันก่อนเริ่มมีอาการ พร้อมย้ำผู้ที่มีความเสี่ยง สัมผัสคนจำนวนมาก ควรตรวจคัดกรองเป็นประจำ นพ.สุรโชค ต่างวิวัฒน์ รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา ...